วันอังคารที่ 25 กรกฎาคม พ.ศ. 2560
ใบงานที่ 4 บทความสารคดีที่นักเรียนสนใจ
Color Therapy การใช้
สีบำบัดโรค
พลังแห่งสีกับการบำบัดโรค
สีส้ม รักษาโรคหืด
สีแดง
ช่วยสร้างเม็ดเลือดแดง
สีม่วง ปรับสมดุลในร่างกาย
สีน้ำเงิน บรรเทาความดันสูง
สีฟ้า บรรเทาโรคปอด
สีบำบัดกับการปรับใช้ในชีวิตประจำวัน
ใช้สีบำบัดเครียด
ใบงานที่ 3 พรบ.คอมพิวเตอร์ 2560
พรบ.คอมฯ from Jirayut Wannakorn
รู้จัก พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์ ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2560
สรุป 13 ข้อ สาระสำคัญจำง่ายๆ
พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ 60
1. การฝากร้านใน Facebook, IG ถือเป็นสแปม
ปรับ 200,000 บาท
2. ส่ง SMS โฆษณา
โดยไม่รับความยินยอม ให้ผู้รับสามารถปฏิเสธข้อมูลนั้นได้ ไม่เช่นนั้นถือเป็นสแปม
ปรับ 200,000 บาท
3. ส่ง Email ขายของ ถือเป็นสแปม
ปรับ 200,000 บาท
4. กด Like ได้ไม่ผิด
พ.ร.บ.คอมพ์ฯ ยกเว้นการกดไลค์ เป็นเรื่องเกี่ยวกับสถาบัน เสี่ยงเข้าข่ายความผิดมาตรา
112 หรือมีความผิดร่วม
5. กด Share ถือเป็นการเผยแพร่
หากข้อมูลที่แชร์มีผลกระทบต่อผู้อื่น อาจเข้าข่ายความผิดตาม พ.ร.บ.คอมพ์ฯ
โดยเฉพาะที่กระทบต่อบุคคลที่ 3
6. พบข้อมูลผิดกฎหมายอยู่ในระบบคอมพิวเตอร์ของเรา
แต่ไม่ใช่สิ่งที่เจ้าของคอมพิวเตอร์กระทำเอง สามารถแจ้งไปยังหน่วยงานที่รับผิดชอบได้
หากแจ้งแล้วลบข้อมูลออกเจ้าของก็จะไม่มีความผิดตามกฎหมาย เช่น
ความเห็นในเว็บไซต์ต่าง ๆ รวมไปถึงเฟซบุ๊ก ที่ให้แสดงความคิดเห็น
หากพบว่าการแสดงความเห็นผิดกฎหมาย
เมื่อแจ้งไปที่หน่วยงานที่รับผิดชอบเพื่อลบได้ทันที เจ้าของระบบเว็บไซต์จะไม่มีความผิด
7.สำหรับ แอดมินเพจ ที่เปิดให้มีการแสดงความเห็น
เมื่อพบข้อความที่ผิด พ.ร.บ.คอมพ์ฯ เมื่อลบออกจากพื้นที่ที่ตนดูแลแล้ว
จะถือเป็นผู้พ้นผิด
8. ไม่โพสต์สิ่งลามกอนาจาร
ที่ทำให้เกิดการเผยแพร่สู่ประชาชนได้
9. การโพสเกี่ยวกับเด็ก เยาวชน ต้องปิดบังใบหน้า
ยกเว้นเมื่อเป็นการเชิดชู ชื่นชม อย่างให้เกียรติ
10. การให้ข้อมูลเกี่ยวกับผู้เสียชีวิต
ต้องไม่ทำให้เกิดความเสื่อมเสียเชื่อเสียง หรือถูกดูหมิ่น เกลียดชัง
ญาติสามารถฟ้องร้องได้ตามกฎหมาย
11. การโพสต์ด่าว่าผู้อื่น มีกฏหมายอาญาอยู่แล้ว
ไม่มีข้อมูลจริง หรือถูกตัดต่อ ผู้ถูกกล่าวหา เอาผิดผู้โพสต์ได้
และมีโทษจำคุกไม่เกิน 3 ปี ปรับไม่เกิน 200,000 บาท
12. ไม่ทำการละเมิดลิขสิทธิ์ผู้ใด ไม่ว่าข้อความ เพลง
รูปภาพ หรือวิดีโอ
13. ส่งรูปภาพแชร์ของผู้อื่น เช่น สวัสดี อวยพร ไม่ผิด
ถ้าไม่เอาภาพไปใช้ในเชิงพาณิชย์ หารายได้
(ที่มา: https://www.marketingoops.com/news/viral-update/computer-law/)รู้จัก พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์ ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2560
1. 1. Infographic รู้จัก พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์ ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2560 (อัพเดทข้อมูล ณ วันที่ 3 มี.ค. 60)
Info com-version-01-02 from manuschanok45
(ที่มา: https://ictlawcenter.etda.or.th/files/files/Info-com-version-01-02.pdf)
(ที่มา: https://ictlawcenter.etda.or.th/files/files/Info-com-version-01-02.pdf)
2.Infographic พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์ ใหม่ ไม่มี Single
Gateway (อัพเดทข้อมูล ณ วันที่ 3 มี.ค. 60)
Info com-version-02-02 from manuschanok45
(ที่มา: https://ictlawcenter.etda.or.th/files/files/Info-com-version-02-02.pdf)
3.press release
(ที่มา: https://ictlawcenter.etda.or.th/files/files/Info-com-version-02-02.pdf)
3.press release
Press from manuschanok45
(ที่มา: https://ictlawcenter.etda.or.th/files/files/Press.pdf)
4.สรุปสาระสำคัญร่าง พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์
(ที่มา: https://ictlawcenter.etda.or.th/files/files/Press.pdf)
4.สรุปสาระสำคัญร่าง พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์
Main point from manuschanok45
(ที่มา: https://ictlawcenter.etda.or.th/files/files/main-point.pdf)
5.FAQ
(ที่มา: https://ictlawcenter.etda.or.th/files/files/main-point.pdf)
5.FAQ
Faq from manuschanok45
(ที่มา: https://ictlawcenter.etda.or.th/files/files/FAQ.pdf)
(ที่มา: https://ictlawcenter.etda.or.th/files/files/FAQ.pdf)
(ที่มา: http://hitech.sanook.com/1424913/)
(ที่มา: http://www.moj.go.th/view/8859)
ใบงานที่ 2 ความรู้เรื่อง Blog

Blog คืออะไร
Blog มาจากศัพท์คำเต็มว่า WeBlog คือ
เว็บไซต์ประเภทหนึ่ง ที่เจ้าของ หรือ Blogger สามารถบันทึกเรื่องราวของตนเองลงในเว็บได้ตลอดเวลา
นอกจากนี้แล้ว Blog ยังเป็นพื้นที่ให้ Blogger โพสต์ข้อมูล หรือใส่ความรู้ ประสบการณ์ เพื่อเป็นวิทยาทานให้คนอื่นๆ เช่น
คุณหมอ เปิดบล็อกแนะนำเรื่องสุขภาพ เป็นต้น การสร้างเว็บบล็อกสามารถทำได้ง่ายๆ
ด้วยตัวเอง ไม่ซับซ้อน ไม่จำเป็นต้องรู้ภาษา HTML อย่างน้อยขอให้มีความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตและเว็บไซต์
ภายในเว็บบล็อก จะมีระบบบริหารจัดการเว็บไซต์พื้นฐานให้แล้ว
โดยการสร้างเครื่องมือสำหรับ เขียนเรื่อง โพสรูป จัดหมวดหมู่ และลูกเล่นอื่นๆ
ที่ผู้จัดทำพยายามสร้างเพื่อดึงดูดผู้คนจากทั่วโลก ให้เข้าไปใช้บริการ
เสน่ห์ของบล็อกอยู่ที่ผู้อ่านและผู้เขียนสามารถโต้ตอบกันได้ (Interactive) โดยการแสดงความคิดเห็นต่อท้ายที่เรื่องนั้นๆ ข้อแตกต่างของบล็อกกับเว็บไซต์ทั่วไป คือ
บล็อกจะเปิดให้ผู้เข้ามาอ่านข้อมูล
สามารถแสดงความคิดเห็นต่อท้ายข้อความที่เจ้าของบล็อกเป็นคนเขียน
ซึ่งทำให้ผู้เขียนสามารถได้ผลตอบกลับโดยทันที
ในปัจจุบันบล็อก ถูกใช้เป็นเครื่องมือสื่อสารรูปแบบใหม่
ไม่ว่าจะเป็นการประกาศข่าวสาร การแสดงความคิดเห็น การเผยแพร่ผลงาน ฯลฯ
และกำลังเป็นที่นิยมมากขึ้นเรื่อย ๆ โดยขณะนี้ได้มีผู้ให้บริการบล็อกมากมาย
ทั้งแบบให้บริการฟรี และเสียค่าใช้จ่าย ตัวอย่างผู้ให้บริการ Blog เช่น Bloggang, exteen หรือ BlogKa หรือต่างประเทศเช่น Blogger, Wordpress, MySpace
บล็อกซอฟต์แวร์ หรือ บล็อกแวร์ คือ ซอฟต์แวร์ที่ใช้ในอินเทอร์เน็ต ในลักษณะของระบบจัดการเนื้อหาเว็บ ที่ผู้พัฒนาซอฟต์แวร์และผู้เขียนหรือดูแลบล็อกจะแยกจากกันต่างหาก ส่งผลให้ผู้เขียนบล็อกสามารถใช้งานได้ทันทีโดยไม่ต้องมีพื้นฐานความรู้ในด้าน HTML หรือการทำเว็บไซต์แต่อย่างใด ทำให้ผู้เขียนบล็อกสามารถใช้เวลาส่วนใหญ่ในการ บริหารจัดการ เพิ่มเติม ข้อมูลและสารสนเทศแทนได้ นอกจากนี้บล็อกซอฟต์แวร์จะสนับสนุน ระบบ WYSIWYG ซึ่งทำให้ง่ายต่อการเขียน
บล็อกซอฟต์แวร์ หรือ บล็อกแวร์ คือ ซอฟต์แวร์ที่ใช้ในอินเทอร์เน็ต ในลักษณะของระบบจัดการเนื้อหาเว็บ ที่ผู้พัฒนาซอฟต์แวร์และผู้เขียนหรือดูแลบล็อกจะแยกจากกันต่างหาก ส่งผลให้ผู้เขียนบล็อกสามารถใช้งานได้ทันทีโดยไม่ต้องมีพื้นฐานความรู้ในด้าน HTML หรือการทำเว็บไซต์แต่อย่างใด ทำให้ผู้เขียนบล็อกสามารถใช้เวลาส่วนใหญ่ในการ บริหารจัดการ เพิ่มเติม ข้อมูลและสารสนเทศแทนได้ นอกจากนี้บล็อกซอฟต์แวร์จะสนับสนุน ระบบ WYSIWYG ซึ่งทำให้ง่ายต่อการเขียน
Blog ใช้ทำอะไรได้บ้าง?
- ทำBlog เป็นเว็บไซด์ส่วนตัว
เพื่อแชร์ข้อมูลส่วนตัวให้กับผู้อื่นๆ เช่น บันทึกไดอารี่
- เขียนBlog เพื่อบอกเล่าเรื่องราวต่างๆ นำเสนอสิ่งที่ตนเองรู้ หรือสิ่งที่ตนเองสนใจ เพื่อแบ่งปันให้กับผู้อื่น
- สร้างBlog ทำเป็นเว็บไซด์เพื่อใช้ในการโปรโมทธุรกิจ ร้านค้า บริการต่างๆ
- ใช้Blog ในการทำธุรกิจขายสินค้าออนไลน์ (E-Commerce)
- นอกจากนี้ Blog ยังเป็นช่องทางหนึ่งที่นิยมใช้กับเพื่อหารายได้จาก Internet Marketing
- เขียนBlog เพื่อบอกเล่าเรื่องราวต่างๆ นำเสนอสิ่งที่ตนเองรู้ หรือสิ่งที่ตนเองสนใจ เพื่อแบ่งปันให้กับผู้อื่น
- สร้างBlog ทำเป็นเว็บไซด์เพื่อใช้ในการโปรโมทธุรกิจ ร้านค้า บริการต่างๆ
- ใช้Blog ในการทำธุรกิจขายสินค้าออนไลน์ (E-Commerce)
- นอกจากนี้ Blog ยังเป็นช่องทางหนึ่งที่นิยมใช้กับเพื่อหารายได้จาก Internet Marketing
Blog กับ Website ต่างกันอย่างไร?
- เว็บไซด์ทั่วๆไปนั้น จำเป็นต้องมี Server, มี Host มี Domain Name เป็นของตนเอง
ซึ่งจะต้องเสียค่าใช้จ่าย แต่ในส่วนของ Blog นั้นเราสามารถสมัครใช้บริการได้แบบฟรี
เพียงแต่เราต้องใช้ชื่อ Domain ของผู้ให้บริการนั้นๆ เช่นของ
Google คือ Blogger.com - โดเมนเนม
ก็จะเป็น "ชื่อBlogของคุณ" ต่อท้ายด้วย "blogspot.com"
เช่น JoJho-Problog.blogspot.com
- เว็บไซด์ทั่วไปจะมีความยืดหยุ่นสูงในการออกแบบ ดีไซน์ เพราะเราต้องสร้างเองทั้งหมด (ดังนั้นจะเลือกดีไซน์ยังไงก็ได้)
- แต่ Blog จะมีการดีไซน์ในรูปแบบเฉพาะเรียกว่า Blog Template ซึ่งมีให้เลือกมากมาย แต่ยังคงมีลักษณะโครงสร้างที่ค่อนข้างตายตัว ไม่สามารถที่จะปรับเปลี่ยนได้มากตามใจชอบอย่างเว็บไซด์
- การสร้างเว็บไซด์ จำเป็นต้องมีทักษะความรู้ด้านคอมพิวเตอร์มากพอสมควร ทั้งในส่วนของภาษาคอมพิวเตอร์, โปรแกรมคอมติวเตอร์ต่างๆ ความรู้เบื้องต้นในเรื่องของ Network เป็นต้น แต่ Blog เพียงรู้หลักในการใช้เล็กน้อยเท่านั้น ก็สามารถสร้างเว็บไซด์ได้อย่างง่ายดาย
- เว็บไซด์ทั่วไปจะมีความยืดหยุ่นสูงในการออกแบบ ดีไซน์ เพราะเราต้องสร้างเองทั้งหมด (ดังนั้นจะเลือกดีไซน์ยังไงก็ได้)
- แต่ Blog จะมีการดีไซน์ในรูปแบบเฉพาะเรียกว่า Blog Template ซึ่งมีให้เลือกมากมาย แต่ยังคงมีลักษณะโครงสร้างที่ค่อนข้างตายตัว ไม่สามารถที่จะปรับเปลี่ยนได้มากตามใจชอบอย่างเว็บไซด์
- การสร้างเว็บไซด์ จำเป็นต้องมีทักษะความรู้ด้านคอมพิวเตอร์มากพอสมควร ทั้งในส่วนของภาษาคอมพิวเตอร์, โปรแกรมคอมติวเตอร์ต่างๆ ความรู้เบื้องต้นในเรื่องของ Network เป็นต้น แต่ Blog เพียงรู้หลักในการใช้เล็กน้อยเท่านั้น ก็สามารถสร้างเว็บไซด์ได้อย่างง่ายดาย
Blog กับ เว็บไซด์สำเร็จรูป
ต่างกันอย่างไร?
- Blog และ เว็บไซด์สำเร็จรูป (Instant
Website) เป็นเว็บไซด์ที่จัดอยู่ในประเภทเดียวกัน ที่เรียกว่า
เว็บไซด์ในรูปแบบ CMS (Content Management System) คือจะเน้นในการจัดการเนื้อหาและบทความ เป็นหลัก ซึ่งเราไม่จำเป็นต้องมีความรู้ในการเขียนโปรแกรมเลย ก็สามารถ สร้างBlog ขึ้นได้โดยวิธีการเข้าใจได้ไม่ยาก
- เว็บไซด์สำเร็จรูป มีทั้งแบบ เราสร้างเว็บเอง หรือ ไปขอใช้บริการแบบที่เค้าสร้างให้เสร็จแล้ว ซึ่งในที่นี้ผมจะขอกล่าวถึงแต่ เว็บไซด์สำเร็จที่เค้าสร้างให้เสร็จแล้ว เพราะจะใกล้เคียงกับบริการของ Blog
- เว็บไซด์สำเร็จรูป ที่นิยม จะเป็นในรูปแบบเปิดร้านค้าออนไลน์ (Online Shopping, Instant Online Store) ซึ่งจะมีระบบที่สนับสนุนกับการทำ E-Commerce รองรับในตัว เช่น ตะกร้าสินค้า, เว็บบอร์ด ในขณะที่ Blog จะไม่มี
- ดังนั้นในการเปิดร้านค้าออนไลน์นั้น เว็บไซด์สำเร็จรูปจะเหมาะสำหรับ ร้านที่มีสินค้าขายเป็น ชิ้นๆ ซึ่งมีจำนวนมากพอสมควรในระดับหนึ่ง ... ในขณะที่ Blog จะเหมาะสำหรับร้านที่มีสินค้าตั้งขายจำนวนน้อย
- Blog จะเหมาะสำหรับธุรกิจที่เน้นให้บริการเป็นหลัก หรือธุรกิจแบบมีร้านค้าจริงๆ เพื่อแนะนำร้านสถานที่ตั้งร้าน นำเสนอและโปรโมทสินค้าบริการต่างๆ เป็นต้น ในขณะที่เว็บไซด์สำเร็จรูปแบบร้านค้าออนไลน์นั้นจะเหมาะสำหรับธุรกิจที่ขายสินค้าเป็นผลิตภัณฑ์ (Products) ต่างๆมากกว่า Blog
- เว็บไซด์สำเร็จรูป มีทั้งแบบ เราสร้างเว็บเอง หรือ ไปขอใช้บริการแบบที่เค้าสร้างให้เสร็จแล้ว ซึ่งในที่นี้ผมจะขอกล่าวถึงแต่ เว็บไซด์สำเร็จที่เค้าสร้างให้เสร็จแล้ว เพราะจะใกล้เคียงกับบริการของ Blog
- เว็บไซด์สำเร็จรูป ที่นิยม จะเป็นในรูปแบบเปิดร้านค้าออนไลน์ (Online Shopping, Instant Online Store) ซึ่งจะมีระบบที่สนับสนุนกับการทำ E-Commerce รองรับในตัว เช่น ตะกร้าสินค้า, เว็บบอร์ด ในขณะที่ Blog จะไม่มี
- ดังนั้นในการเปิดร้านค้าออนไลน์นั้น เว็บไซด์สำเร็จรูปจะเหมาะสำหรับ ร้านที่มีสินค้าขายเป็น ชิ้นๆ ซึ่งมีจำนวนมากพอสมควรในระดับหนึ่ง ... ในขณะที่ Blog จะเหมาะสำหรับร้านที่มีสินค้าตั้งขายจำนวนน้อย
- Blog จะเหมาะสำหรับธุรกิจที่เน้นให้บริการเป็นหลัก หรือธุรกิจแบบมีร้านค้าจริงๆ เพื่อแนะนำร้านสถานที่ตั้งร้าน นำเสนอและโปรโมทสินค้าบริการต่างๆ เป็นต้น ในขณะที่เว็บไซด์สำเร็จรูปแบบร้านค้าออนไลน์นั้นจะเหมาะสำหรับธุรกิจที่ขายสินค้าเป็นผลิตภัณฑ์ (Products) ต่างๆมากกว่า Blog
ส่วนประกอบของBlog
1. ชื่อบล็อก(Blog Title)ส่วนของ Blog Title จะเป็นชื่อบล็อกนั้น
2. แท็กไลน์(Subtitle หรือ Tag line)ตรงส่วนนี้จะเป็นคำจำกัดความของเว็บ หรือสโลแกนเก๋ๆที่ใช้อธิบายถึงตัวบล็อกโดย
รวม โดยตัวแท็กไลน์นี้จะมีหรือไม่ก็ได้ เพราะมันไม่สำคัญเท่ากับชื่อบล็อก
3. วันที่และเวลา(Date & Time Stamp)เป็นวันที่และบางครั้ง อาจมีเวลากำกับอยู่ด้วยตัววันที่และเวลานี้จะเป็นตัวบอกว่าบทความในบล็อกนั้นเขียนขึ้นมาเมื่อไหร่ บางครั้งอาจมีวันที่ระบุอยู่ในส่วนของ comment ด้วย เป็นการบ่งบอกว่า comment นั้นเขียนเข้ามาเมื่อไหร่เช่นกัน
4. ชื่อบทความ(Entry Title)ชื่อเรื่องของบทความที่เขียนในบล็อก
5. ตัวเนื้อหาบทความ(Entry’s Main Body)อาจเป็นตัวหนังสือ หรือรูปภาพ วีดีโอ หรือแอนิเมชั่น เป็นต้น โดยส่วนประกอบเหล่านี้จะรวมเป็นส่วนเนื้อหาของบทความ
6. ชื่อผู้เขียน(Blog Author)บางบล็อกอาจมีการระบุชื่อผู้เขียนไว้ในบล็อกด้วย โดยตำแหน่งที่จะใส่ชื่อผู้เขียนนั้น สามารถไว้ที่ตำแหน่งใดก็ได้ เช่นด้านข้างของหน้าบล็อก (sidebar) หรืออยู่ในตัวบทความก็ได้
7. คอมเม้นต์(Comment tag)เป็นลิงค์ที่ให้ผู้อ่านคลิกไปเพื่อกรอกคอมเม้นต์ให้กับบล็อกนั้นๆหรืออ่านคอมเม้นต์ที่มีคนเขียนคอมเม้นต์เข้ามา
8. ลิงค์ถาวร(Permalink)สามารถเรียกทับศัพท์ว่า เพอร์มาลิ้งค์คือลิงค์ที่ไปหา url ของบทความนั้นๆโดยตรง มีประโยชน์สำหรับ blogger คนอื่นๆที่อยากจะทำลิงค์หาบทความของเราโดยตรงก็จะสามารถหา permalink ได้อย่างายดาย โดย url ของ pemalink นี้จะไม่เปลี่ยนไปตามวันและเวลาเหมือน link ของหน้าแรกของบล็อกที่บทความจะเปลี่ยนไปเรื่อยๆ
9. ปฎิทิน(Calendar)บล็อกบางแห่งอาจมีปฎิทินอยู่ด้วย โดยใน
1. ชื่อบล็อก(Blog Title)ส่วนของ Blog Title จะเป็นชื่อบล็อกนั้น
2. แท็กไลน์(Subtitle หรือ Tag line)ตรงส่วนนี้จะเป็นคำจำกัดความของเว็บ หรือสโลแกนเก๋ๆที่ใช้อธิบายถึงตัวบล็อกโดย
รวม โดยตัวแท็กไลน์นี้จะมีหรือไม่ก็ได้ เพราะมันไม่สำคัญเท่ากับชื่อบล็อก
3. วันที่และเวลา(Date & Time Stamp)เป็นวันที่และบางครั้ง อาจมีเวลากำกับอยู่ด้วยตัววันที่และเวลานี้จะเป็นตัวบอกว่าบทความในบล็อกนั้นเขียนขึ้นมาเมื่อไหร่ บางครั้งอาจมีวันที่ระบุอยู่ในส่วนของ comment ด้วย เป็นการบ่งบอกว่า comment นั้นเขียนเข้ามาเมื่อไหร่เช่นกัน
4. ชื่อบทความ(Entry Title)ชื่อเรื่องของบทความที่เขียนในบล็อก
5. ตัวเนื้อหาบทความ(Entry’s Main Body)อาจเป็นตัวหนังสือ หรือรูปภาพ วีดีโอ หรือแอนิเมชั่น เป็นต้น โดยส่วนประกอบเหล่านี้จะรวมเป็นส่วนเนื้อหาของบทความ
6. ชื่อผู้เขียน(Blog Author)บางบล็อกอาจมีการระบุชื่อผู้เขียนไว้ในบล็อกด้วย โดยตำแหน่งที่จะใส่ชื่อผู้เขียนนั้น สามารถไว้ที่ตำแหน่งใดก็ได้ เช่นด้านข้างของหน้าบล็อก (sidebar) หรืออยู่ในตัวบทความก็ได้
7. คอมเม้นต์(Comment tag)เป็นลิงค์ที่ให้ผู้อ่านคลิกไปเพื่อกรอกคอมเม้นต์ให้กับบล็อกนั้นๆหรืออ่านคอมเม้นต์ที่มีคนเขียนคอมเม้นต์เข้ามา
8. ลิงค์ถาวร(Permalink)สามารถเรียกทับศัพท์ว่า เพอร์มาลิ้งค์คือลิงค์ที่ไปหา url ของบทความนั้นๆโดยตรง มีประโยชน์สำหรับ blogger คนอื่นๆที่อยากจะทำลิงค์หาบทความของเราโดยตรงก็จะสามารถหา permalink ได้อย่างายดาย โดย url ของ pemalink นี้จะไม่เปลี่ยนไปตามวันและเวลาเหมือน link ของหน้าแรกของบล็อกที่บทความจะเปลี่ยนไปเรื่อยๆ
9. ปฎิทิน(Calendar)บล็อกบางแห่งอาจมีปฎิทินอยู่ด้วย โดยใน
ปฎิทินนั้นสามารถคลิกตามวันที่ เพื่ออ่านบทความของวันที่นั้นๆได้
10. บทความย้อนหลัง(Archives)บทความเก่า หรือบทความย้อนหลัง อาจมีการจัดเตรียมไว้โดยเจ้าของบล็อก โดยบล็อกแต่ละแห่งอาจจัดเรียงบทความย้อนหลังไม่เหมือนกันเช่นจัดเรียงรายเดือน รายสัปดาห์ รายวัน หรือจะ list บทความทั้งหมดออกมาเลยก็ได้
11. ลิงค์ไปยังเว็บอื่น(Links)เป็นจุดเด่นและความสนุกของบล็อกอีกอย่างหนึ่งเลยทีเดียวโดยบล็อกแต่ละแห่งอาจมีลิงค์ไปยังเว็บอื่นหลากหลายเว็บ บางครั้งเราสามารถเรียก link พวกนี้ว่า blogroll
12. RSS หรือ XML อาจมีเตรียมไว้ให้เราโดยอัตโนมัติขึ้นอยู่กับ Blogware หรือ Blog Host ที่เราเลือกใช้ เช่น WordPress หรือ MovableType นั้นจะมี RSS ลิงค์ไว้ให้เราโดยอัตโนมัติ โดยเจ้า RSS Feed นี้จะช่วยให้ผู้อ่านเข้าถึงบทความของเราได้ง่ายขึ้น โดยการใช้โปรแกรมช่วยอ่าน Feed ได้ บางครั้งนักเขียน Blog คนอื่น ก็อาจใช้ RSSFeed นี้เพื่อประโยชน์ในการดึงข้อมูลไปแสดงในเว็บ หรือบล็อกของตนได้
10. บทความย้อนหลัง(Archives)บทความเก่า หรือบทความย้อนหลัง อาจมีการจัดเตรียมไว้โดยเจ้าของบล็อก โดยบล็อกแต่ละแห่งอาจจัดเรียงบทความย้อนหลังไม่เหมือนกันเช่นจัดเรียงรายเดือน รายสัปดาห์ รายวัน หรือจะ list บทความทั้งหมดออกมาเลยก็ได้
11. ลิงค์ไปยังเว็บอื่น(Links)เป็นจุดเด่นและความสนุกของบล็อกอีกอย่างหนึ่งเลยทีเดียวโดยบล็อกแต่ละแห่งอาจมีลิงค์ไปยังเว็บอื่นหลากหลายเว็บ บางครั้งเราสามารถเรียก link พวกนี้ว่า blogroll
12. RSS หรือ XML อาจมีเตรียมไว้ให้เราโดยอัตโนมัติขึ้นอยู่กับ Blogware หรือ Blog Host ที่เราเลือกใช้ เช่น WordPress หรือ MovableType นั้นจะมี RSS ลิงค์ไว้ให้เราโดยอัตโนมัติ โดยเจ้า RSS Feed นี้จะช่วยให้ผู้อ่านเข้าถึงบทความของเราได้ง่ายขึ้น โดยการใช้โปรแกรมช่วยอ่าน Feed ได้ บางครั้งนักเขียน Blog คนอื่น ก็อาจใช้ RSSFeed นี้เพื่อประโยชน์ในการดึงข้อมูลไปแสดงในเว็บ หรือบล็อกของตนได้
ประโยชน์ของBlog
1.เพื่อบริหารการจัดการความรู้ต่างๆ โดย Blog จะเป็นช่องทางให้ผู้อ่านหาข้อมูลที่ต้องการจาก Blog ต่างๆได้โดยง่าย
ขณะเดียวกันผู้เขียน Blog หรือ Blogger ก็สามารถค้นคว้าหาข้อมูล หรือ update ข้อมูลใหม่ๆ
เพื่อตอบสนองความต้องการของผู้อ่านได้
2.เป็นที่ติดต่อสือสารและแรกเปลี่ยนความคิดเห็นกับบุคคลที่มีแนวความคิดเดียวกัน เช่น เมื่อเราเขียน Blog แล้วมีผู้สนใจในเนื้อหา
อาจมีข้อสงสัยสามารถที่จะ comment ข้อสงสัยไว้ได้เพื่อต้องกานให้ผู้เขียน
อธิบายหรือตอบปัญหาดังกล่าว
3.เป็นประโยชน์โดยตรงต่อผู้อ่านและผู้เขียนคือผู้อ่านได้รับความรู้จากเรื่องที่ตนสนใจ และสามารถ comment เพื่อแสดงความคิดเห็นไว้
ทำให้เกิดการแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างผู้อ่านและผู้เขียนทำให้เกิดแนวคิดใหม่ๆ
เพื่อนำมาวิเคราะห์ และทำความเข้าใจได้มากขึ้น
4.เป็นแหล่งความรู้ที่หลากหลาย
เป็นสิ่งสรุปข้อมูลต่างๆ เพื่อให้ผู้สนใจเข้ามาอ่านหา ความรู้ได้ง่าย
มีการแสดงแนวคิดความคิดเห็นให้ ผู้อ่านได้ตัดสินใจ และเป็นแหล่งที่ ตั้งคำถามที่เราสงสัยเพื่อให้ผู้ที่มีความรู้เข้ามา comment บรรยาย ให้เราทราบได้อีกด้วย
ข้อดีและข้อเสียของ Blog
ข้อดี
- มีอิสระที่จะนำเสนอสิ่งต่างๆ (ที่ไม่ไปก้าวล่วงบุคคลอื่น และไม่ผิดกฎกติกาของผู้ให้บริการ Blog)
- เปิดโอกาสให้เจ้าของ Blog ได้รับฟังความคิดเห็นของผู้เข้าชมและโต้ตอบกลับได้อย่างอิสระ
- ไม่จำเป็นต้องมีความรู้ในด้านภาษาโปรแกรมต่างๆ
- หากพอมีความรู้ด้านภาษาเว็บพื้นฐาน (HTML) จะสามารถช่วยทำให้เข้าไปแก้ไข Source Code ได้
เพื่อปรับเปลี่ยนรูปแบบ Template ของ Blog ตามต้องการ
- สามารถใช้ Blog ในการทำธุรกิจหารายได้ จากการโปรโมทสินค้าหรือบริการ
- สามารถใช้สร้างเป็นเครือข่ายสังคมออนไลน์ได้
- ใช้งานได้ฟรี!! ไม่เสียค่าใช้จ่าย (ยกเว้นต้องการจด Domain Name เป็น .com .net .org .info)
- มี Template ให้เลือกใช้มากมาย (ทั้งแบบฟรีและเสียเงิน)
- Server มีความเสถียรสูง ปัญหาในด้านความช้า หรือ Server ล่ม พบน้อยมาก
ข้อเสีย
- ฟังก์ชั่นและลูกเล่นต่างๆ ยังมีน้อยหากเทียบกับเว็บไซด์ที่สร้างเองหรือเว็บไซด์สำเร็จรูป
- แม้มีรูปแบบ Template ให้เลือกใช้มากมายแต่โครงสร้างเว็บก็ยังคงค่อนข้างตายตัว
- เนื่องจากเป็นบริการให้ใช้ฟรี หากเราทำผิดกฎของผู้ให้บริการ Blog เราจะถูกแบน และมีโอกาส
ถูกลบ Blog ได้ (แต่ถ้าไม่ได้ทำผิดกฎอะไร ก็อยู่ได้อย่างยาวนานจนกว่าผู้บริการจะเลิกให้บริการ)
- มีอิสระที่จะนำเสนอสิ่งต่างๆ (ที่ไม่ไปก้าวล่วงบุคคลอื่น และไม่ผิดกฎกติกาของผู้ให้บริการ Blog)
- เปิดโอกาสให้เจ้าของ Blog ได้รับฟังความคิดเห็นของผู้เข้าชมและโต้ตอบกลับได้อย่างอิสระ
- ไม่จำเป็นต้องมีความรู้ในด้านภาษาโปรแกรมต่างๆ
- หากพอมีความรู้ด้านภาษาเว็บพื้นฐาน (HTML) จะสามารถช่วยทำให้เข้าไปแก้ไข Source Code ได้
เพื่อปรับเปลี่ยนรูปแบบ Template ของ Blog ตามต้องการ
- สามารถใช้ Blog ในการทำธุรกิจหารายได้ จากการโปรโมทสินค้าหรือบริการ
- สามารถใช้สร้างเป็นเครือข่ายสังคมออนไลน์ได้
- ใช้งานได้ฟรี!! ไม่เสียค่าใช้จ่าย (ยกเว้นต้องการจด Domain Name เป็น .com .net .org .info)
- มี Template ให้เลือกใช้มากมาย (ทั้งแบบฟรีและเสียเงิน)
- Server มีความเสถียรสูง ปัญหาในด้านความช้า หรือ Server ล่ม พบน้อยมาก
ข้อเสีย
- ฟังก์ชั่นและลูกเล่นต่างๆ ยังมีน้อยหากเทียบกับเว็บไซด์ที่สร้างเองหรือเว็บไซด์สำเร็จรูป
- แม้มีรูปแบบ Template ให้เลือกใช้มากมายแต่โครงสร้างเว็บก็ยังคงค่อนข้างตายตัว
- เนื่องจากเป็นบริการให้ใช้ฟรี หากเราทำผิดกฎของผู้ให้บริการ Blog เราจะถูกแบน และมีโอกาส
ถูกลบ Blog ได้ (แต่ถ้าไม่ได้ทำผิดกฎอะไร ก็อยู่ได้อย่างยาวนานจนกว่าผู้บริการจะเลิกให้บริการ)
วิดีโอที่เกี่ยวข้อง
Blog คืออะไร
Blogging - How To Create The Perfect
Introduction To Your Blog Post
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)
กิจกรรมที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานสีบำบัดโรค(Color Therapy) from Bezegrupe
-
(ที่มา: https://seniorswu.in.th/2017/tcas-admission/ ) [ สรุป] มาแล้ว! ‘TCAS’ ระบบการคัดเลือกแบบใหม่ เริ่มใช้ปี 2561.. ไม่ใช่...
-
My Profile Name : Preeyanut Atikakheereepong Nickname : Breeze Birthday : 31 December 1999 Address : 322/36 Mani Noppharat Rd...
-
โครงงานสีบำบัดโรค(Color Therapy) from Bezegrupe